ปรากฎการณ์น้ำท่วม ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย เกือบ2ทศวรรษที่ผ่านมา จนถึงปัจจุบัน ได้เกิดขึ้นถึง 3 ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ 1 สึนามิในไทย เมื่อปลายปี 47
ครั้งที่ 2 น้ำท่วมบริเวณภูมิภาคภาคกลาง เมื่อกลางปี 54
ครั้งที่ 3 น้ำป่าท่วมปิดปากถ้ำหลวง กับ "13 ชีวิต" บริเวณภูมิภาคเหนือตอนบน(จ. เชียงราย) เมื่อกลางปี 61
โดยสรุปครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 เกิดเหุตการณ์ห่างกัน 7 ปี ครั้งที่ 2 และครั้งที่ 3 เกิดเหตุการณ์ห่างกัน 7 ปี โดยเฉลี่ยรวมแล้วคือ7ปี การทำนายเรื่องผลกระทบอุณหภูมิ นักวิทยาศาสตร์กล่าวว่าทุก 10 ปี จะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศา ดังนั้นน้ำท่วมก็เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมเหมือนกัน จึงถือว่าการทำนายนั้นเริ่มไม่แน่นอน และคลาดเคลื่อนเร็วกว่่าความเป็นจริง
กรณีน้ำท่วมครั้งที่ 1 เกิดภัยต่อภาพรวม
กรณีน้ำท่วมครั้งที่ 2 เกิดภัยต่อส่วนภูมิภาค
กรณีน้ำท่วมครั้งที่ 3 เกิดภัยต่อกลุ่มบุคคล
ลักษณะภัยน้ำท่วมประเภทแรกสึนามิ มักเกิดในกลุ่มประเทศที่เคยมีภัยธรรมชาติมาก่อน อย่างประเทศญี่ปุ่น มีทั้งสึนามิ แผ่นดินไหว ภูเขาไฟ แต่ประเทศไทยเพิ่งพบครั้งแรก เป็็็นเหตุสุดวิสัยที่ไม่คาดคิด จึงควรเรียนรู้เพื่อป้องกันเรื่องภัยจากสึนามิ จากประเทศที่เคยประสบภัยมาก่อน
ส่วนภัยประเภทที่สองและสาม เป็นภัยน้ำท่วมตามฤดูกาล โดยประเภทสองปัญหาการวางผังเมืองและเกิดจากการจัดการระบบน้ำที่ไม่เหมาะสม ซึ่งนักวางแผนน้ำหรือวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมนั้น ควรศึกษาเรียนรู้จากประวัติศาสตร์ต่างๆในอดีตเรื่องการจัดการระบบน้ำหรือชลประทาน ในภาพรวม เช่น สมัยชัยวรมันของประเทศกัมพูชา พ่อขุนรามคำแหง และสมัยร.9โครงการแก้มลิง เกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นต้น. จะสามารถแก้ไขป้องกันภัยพิบัติเหล่านี้ได้
สำหรับประเภทที่สาม นั่นเกิดจากความประมาทหรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ซึ่งรู้อยู่แล้วว่าเป็นฤดูฝน แต่ก็ยังไปถ้ำ กรณีนี้สะท้อนถึงระบบการศึกษาไทย ตลอดจนเรื่องเชาวว์ปัญญาหรือสติปัญญาที่ขาดความเข้าใจธรรมชาติอย่างถ่องแท้ เช่น เรื่องป่า และเรื่องน้ำ พูดกันง่ายๆ เรื่องสิ่งแวดล้อมนั่นแหล่ะ..
ในอนาคต ผมทำนายไว้เลยว่า อาจจะเกิดเหตุการณ์ภัยน้ำท่วมในลักษณะอย่างนี้อีก ในช่วง 5-7 ปีข้างหน้า แต่จะเกิดภัยต่อครอบครัวหรือปัจเจกบุคคลก็ได้ เพราะความไม่เท่าเทียมกัน(ด้านสื่อ) หรือช่องว่างของความรู้(ทางโลก) หรือช่องว่างความรู้(ทางธรรม) เพราะฉะนั้น ตน ควรเป็นที่พึ่งแห่งตน.
ปัจจุบัน คนให้ความสำคัญกับเรื่องเทคโนโลยี มากกว่าสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะเทคโนโลยีการสื่อสารด้านการติดตามข่าวแบบสองทาง จากสื่อทางเลือกต่างๆทั้งเฟสบุ้ค และยูทูป แบบกระต่ายตื่่นตูม โดยเริ่มต้นจากการเขียนโพสต์ในเฟสบุุ้ค และกลุ่มศรัทธาสนับสนุนเชื่อศาสนา กลุ่มไม่ศรัทธาศาสนา แต่เชื่อวิทยาศาสตร์ และกลุ่มเป็นกลางที่มีวิจารณญานที่เสนอผ่านยูทูป เพื่อโต้แย้งตามอุดมการณ์ของตน โดยมีการกดไลท์ และการแชร์ข่าวตามความเชื่อ และความศรัทธาของปัจเจกบุคคลนั้น
สังคมไทยสมัยเก่า เคยเป็นสังคมผสมผสานทั้งผีและศาสนาพุทธ ดังนั้น ผมเชื่อว่ายังมีคนกลุ่มหนึ่งที่เป็นกลุ่มค่อนข้างใหญ่ระดับสาธารณะ ที่มีความเชื่อในลักษณะนี้อยู่ แต่อย่างไรก็ตาม กระบวนการรับรู้สื่อในยุคปัจจุบันมักมีอารมณ์มาเกี่ยวข้องอยู่เสมอ โดยมีเรื่องวิทยาศาสตร์มาเกี่ยวข้องด้วยอย่างเป็นเหตุเป็นผล อย่างน้ำป่าท่วมถ้ำนี้ เป็นเรื่องปกติ เพราะเป็นช่วงฤดูฝน และน้ำ ย่อมไหลจากที่สูง ลงสู่ที่ต่ำเสมอ ตามกฎแรงโน้มถ่วงของโลก
ดังนั้น การนำเสนอสื่อตามอารมณ์เพื่อโน้มน้าวใจ และเหตุผลจะเกี่ยวข้องกันเสมอ แต่ผู้รับสารจะมีวิจารณญานแค่ไหน ส่วนหนึ่งก็มาจากกรอบอ้างอิงหรือประสบการณ์ส่วนบุคคลด้วย ยิ่งคนยุคใหม่ที่เป็นยุคอารมณ์แล้ว จะคิคต่างจากคนยุคเหตุผล เหมือนสมองคนละซีกคือซีกซ้ายและซีกขวา เหมือนพระทางธรรมและมนุษย์ทางโลก ย่อมคิดไม่เหมือนกัน เพราะพวกเขาอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกัน สำหรับคนรุ่นใหม่นั้น จะเชื่อเมื่อพิสูจน์ให้เห็นเป็นรูปธรรมในทางวิทยาศาสตร์เท่านั้น จึงอยากรู้ อยากเห็น และอยากท้าทาย ส่วนคนรุ่นเก่านั้น มีเด่นอย่างหนึ่งคือด้านจิตวิญญาน คือมีจิตใจที่เข้มแข็งกว่า ที่นี้ถามว่าจะสื่ออย่างไร ให้เขาเข้าใจอย่างที่เราเห็น??
ครั้งที่ 1 สึนามิในไทย เมื่อปลายปี 47
ครั้งที่ 2 น้ำท่วมบริเวณภูมิภาคภาคกลาง เมื่อกลางปี 54
ครั้งที่ 3 น้ำป่าท่วมปิดปากถ้ำหลวง กับ "13 ชีวิต" บริเวณภูมิภาคเหนือตอนบน(จ. เชียงราย) เมื่อกลางปี 61
โดยสรุปครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 เกิดเหุตการณ์ห่างกัน 7 ปี ครั้งที่ 2 และครั้งที่ 3 เกิดเหตุการณ์ห่างกัน 7 ปี โดยเฉลี่ยรวมแล้วคือ7ปี การทำนายเรื่องผลกระทบอุณหภูมิ นักวิทยาศาสตร์กล่าวว่าทุก 10 ปี จะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศา ดังนั้นน้ำท่วมก็เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมเหมือนกัน จึงถือว่าการทำนายนั้นเริ่มไม่แน่นอน และคลาดเคลื่อนเร็วกว่่าความเป็นจริง
กรณีน้ำท่วมครั้งที่ 1 เกิดภัยต่อภาพรวม
กรณีน้ำท่วมครั้งที่ 2 เกิดภัยต่อส่วนภูมิภาค
กรณีน้ำท่วมครั้งที่ 3 เกิดภัยต่อกลุ่มบุคคล
ลักษณะภัยน้ำท่วมประเภทแรกสึนามิ มักเกิดในกลุ่มประเทศที่เคยมีภัยธรรมชาติมาก่อน อย่างประเทศญี่ปุ่น มีทั้งสึนามิ แผ่นดินไหว ภูเขาไฟ แต่ประเทศไทยเพิ่งพบครั้งแรก เป็็็นเหตุสุดวิสัยที่ไม่คาดคิด จึงควรเรียนรู้เพื่อป้องกันเรื่องภัยจากสึนามิ จากประเทศที่เคยประสบภัยมาก่อน
ส่วนภัยประเภทที่สองและสาม เป็นภัยน้ำท่วมตามฤดูกาล โดยประเภทสองปัญหาการวางผังเมืองและเกิดจากการจัดการระบบน้ำที่ไม่เหมาะสม ซึ่งนักวางแผนน้ำหรือวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมนั้น ควรศึกษาเรียนรู้จากประวัติศาสตร์ต่างๆในอดีตเรื่องการจัดการระบบน้ำหรือชลประทาน ในภาพรวม เช่น สมัยชัยวรมันของประเทศกัมพูชา พ่อขุนรามคำแหง และสมัยร.9โครงการแก้มลิง เกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นต้น. จะสามารถแก้ไขป้องกันภัยพิบัติเหล่านี้ได้
สำหรับประเภทที่สาม นั่นเกิดจากความประมาทหรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ซึ่งรู้อยู่แล้วว่าเป็นฤดูฝน แต่ก็ยังไปถ้ำ กรณีนี้สะท้อนถึงระบบการศึกษาไทย ตลอดจนเรื่องเชาวว์ปัญญาหรือสติปัญญาที่ขาดความเข้าใจธรรมชาติอย่างถ่องแท้ เช่น เรื่องป่า และเรื่องน้ำ พูดกันง่ายๆ เรื่องสิ่งแวดล้อมนั่นแหล่ะ..
ในอนาคต ผมทำนายไว้เลยว่า อาจจะเกิดเหตุการณ์ภัยน้ำท่วมในลักษณะอย่างนี้อีก ในช่วง 5-7 ปีข้างหน้า แต่จะเกิดภัยต่อครอบครัวหรือปัจเจกบุคคลก็ได้ เพราะความไม่เท่าเทียมกัน(ด้านสื่อ) หรือช่องว่างของความรู้(ทางโลก) หรือช่องว่างความรู้(ทางธรรม) เพราะฉะนั้น ตน ควรเป็นที่พึ่งแห่งตน.
ปัจจุบัน คนให้ความสำคัญกับเรื่องเทคโนโลยี มากกว่าสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะเทคโนโลยีการสื่อสารด้านการติดตามข่าวแบบสองทาง จากสื่อทางเลือกต่างๆทั้งเฟสบุ้ค และยูทูป แบบกระต่ายตื่่นตูม โดยเริ่มต้นจากการเขียนโพสต์ในเฟสบุุ้ค และกลุ่มศรัทธาสนับสนุนเชื่อศาสนา กลุ่มไม่ศรัทธาศาสนา แต่เชื่อวิทยาศาสตร์ และกลุ่มเป็นกลางที่มีวิจารณญานที่เสนอผ่านยูทูป เพื่อโต้แย้งตามอุดมการณ์ของตน โดยมีการกดไลท์ และการแชร์ข่าวตามความเชื่อ และความศรัทธาของปัจเจกบุคคลนั้น
สังคมไทยสมัยเก่า เคยเป็นสังคมผสมผสานทั้งผีและศาสนาพุทธ ดังนั้น ผมเชื่อว่ายังมีคนกลุ่มหนึ่งที่เป็นกลุ่มค่อนข้างใหญ่ระดับสาธารณะ ที่มีความเชื่อในลักษณะนี้อยู่ แต่อย่างไรก็ตาม กระบวนการรับรู้สื่อในยุคปัจจุบันมักมีอารมณ์มาเกี่ยวข้องอยู่เสมอ โดยมีเรื่องวิทยาศาสตร์มาเกี่ยวข้องด้วยอย่างเป็นเหตุเป็นผล อย่างน้ำป่าท่วมถ้ำนี้ เป็นเรื่องปกติ เพราะเป็นช่วงฤดูฝน และน้ำ ย่อมไหลจากที่สูง ลงสู่ที่ต่ำเสมอ ตามกฎแรงโน้มถ่วงของโลก
ดังนั้น การนำเสนอสื่อตามอารมณ์เพื่อโน้มน้าวใจ และเหตุผลจะเกี่ยวข้องกันเสมอ แต่ผู้รับสารจะมีวิจารณญานแค่ไหน ส่วนหนึ่งก็มาจากกรอบอ้างอิงหรือประสบการณ์ส่วนบุคคลด้วย ยิ่งคนยุคใหม่ที่เป็นยุคอารมณ์แล้ว จะคิคต่างจากคนยุคเหตุผล เหมือนสมองคนละซีกคือซีกซ้ายและซีกขวา เหมือนพระทางธรรมและมนุษย์ทางโลก ย่อมคิดไม่เหมือนกัน เพราะพวกเขาอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกัน สำหรับคนรุ่นใหม่นั้น จะเชื่อเมื่อพิสูจน์ให้เห็นเป็นรูปธรรมในทางวิทยาศาสตร์เท่านั้น จึงอยากรู้ อยากเห็น และอยากท้าทาย ส่วนคนรุ่นเก่านั้น มีเด่นอย่างหนึ่งคือด้านจิตวิญญาน คือมีจิตใจที่เข้มแข็งกว่า ที่นี้ถามว่าจะสื่ออย่างไร ให้เขาเข้าใจอย่างที่เราเห็น??